🌏✅👉📢เนื่องจากการขั้นตอนการทำฐานรากของอาคาร ต้องคำนึงถึงความมั่นคงแข็งแรงเป็นสำคัญ🥇 ซึ่งแต่ละพื้นที่ก่อสร้างมีลักษณะของชั้นดินที่มีความแตกต่างกัน👉 และการควบคุมคุณภาพในการก่อสร้างหน้างาน ก็มักมีปัจจัยที่แตกต่างกันไป👉 ส่งผลถึงคุณภาพในการทำเสาเข็มเจาะหรือเสาเข็มตอก🛒 ดังนั้นการทดสอบเสาเข็มจึงจำเป็นมาก📌 ซึ่งมีทั้งการทดสอบความสมบูรณ์ของเสาเข็ม และการประเมินการรับน้ำหนักของเสาเข็ม⚡ เพื่อช่วยประเมินความเสียหายเบื้องต้นของเสาเข็มที่ติดตั้งลึกลงไปในชั้นดินที่เรามองไม่เห็น✅ จะทำให้ทราบได้ว่าเสาเข็มเกิดความบกพร่อง ทำให้สามารถแก้ไขได้ทันท่วงที🎯 สามารถประหยัดค่าใช้จ่ายในการแก้ไขงานทีหลัง👉 ซึ่งการทดสอบนี้สามารถทำได้รวดเร็ว และราคาไม่แพง🥇
(https://scontent.fbkk5-4.fna.fbcdn.net/v/t39.30808-6/349087332_206869248838396_5728247429644255611_n.jpg?_nc_cat=110&ccb=1-7&_nc_sid=127cfc&_nc_eui2=AeEY4KLOzxMpxU_8LYVgVK2l8uW2CUu-B_ny5bYJS74H-RDvlfsgVzoAe1t6I3UqFllhcp1IOB8gjyQjlZd-oL3M&_nc_ohc=LgNnij3VzikQ7kNvgGwr1Fb&_nc_ht=scontent.fbkk5-4.fna&oh=00_AYCajllA_Gv4RBfc1CdStKQx0h9uaNxbICpKgdPoyUzjig&oe=66A6ACCE)
🛒🦖🎯✅การทดสอบเสาเข็มวิธี Seismic Test✅👉📢🌏
👉👉🛒มีจุดประสงค์เพื่อประเมินสภาพความสมบูรณ์ตลอดความยาวของเสาเข็ม🥇 การทดสอบวิธีนี้เป็นการทดสอบที่สะดวก รวดเร็ว และค่าใช้จ่ายต่ำ⚡ จึงเป็นที่นิยมใช้ในการตรวจสอบความสมบูรณ์ของเสาเข็มในขั้นต้น🦖 การทดสอบนี้สามารถดำเนินการได้ทั้งในเสาเข็มคอนกรีตอัดแรงและเสาเข็มเจาะหล่อกับที่🎯 โดยการทดสอบตามมาตรฐาน ASTM D5882-07👉 กระบวนการทดสอบ Seismic Test (https://www.lcdtvthailand.com/webboard/index.php?topic=682668.0) มีขั้นตอนหลักดังนี้📌:
👉🥇⚡🦖🎯✅Seismic Test โดยใช้ค้อนขนาดเล็กเคาะหัวเสาเข็มเพื่อให้เกิดคลื่นความเค้น (Stress Wave)🎯 ส่งผ่านลงไปในเสาเข็ม หากคลื่นวิ่งผ่านตำหนิ (Defects) เช่น รอยร้าวหรือคอนกรีตคุณภาพไม่ดี หรือวิ่งถึงปลายเสาเข็ม ก็จะสะท้อนกลับและถูกบันทึกด้วยเครื่องวัดความเร่ง (Accelerometer) ที่ติดตั้งอยู่บนหัวเสาเข็ม✅ ทำหน้าที่แปลงสัญญาณเป็นความเร็วคลื่นเทียบกับเวลา เพื่อประเมินความสมบูรณ์ (Integrity) ของเสาเข็ม🎯 การทดสอบแบบนี้ใช้ได้กับเสาเข็มทุกประเภท🦖 การทดสอบนี้รวดเร็ว เพียง 2 ถึง 3 นาทีต่อต้น และมีค่าใช้จ่ายต่ำ แต่ไม่สามารถบอกกำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มได้👉
👉👉🥇🦖🎯✅การทดสอบความสมบูรณ์เสาเข็มด้วยวิธีการ SEISMIC TEST นี้มีจุดประสงค์ก็เพื่อเป็นการประเมินสภาพความสมบูรณ์ตลอดความยาวของตัวโครงสร้างของเสาเข็ม📢 วิธีนี้สะดวก รวดเร็ว และมีค่าใช้จ่ายต่ำ จึงเหมาะสมและนิยมใช้ในการตรวจสอบความสมบูรณ์ของเสาเข็มเบื้องต้น (PRELIMINARY TEST)📢 หากตรวจสอบพบว่าเสาเข็มมีสภาพบกพร่อง จะทำการกำหนดวิธีการทดสอบอื่น ๆ และดำเนินการซ่อมแซมเพื่อแก้ไขปัญหาต่อไป🌏 การทดสอบนี้จะระบุถึงข้อบกพร่องต่าง ๆ ได้หลายอย่าง เช่น รอยแตกร้าว (CRACK) โพรง หรือช่องว่าง (VOID) รอยคอด (SIZE REDUCTION) หรือบวม (SIZE INCREASE) ของตัวโครงสร้างของเสาเข็มได้🦖 เป็นต้น
น่าสนใจครับ
น่าสนใจค่ะ
น่าสนใจครับ
ขอบคุณครับ